คลังเก็บหมวดหมู่: ประวัติศาสตร์

Romance of the three kingdom ( สามก๊ก)

Published / by admin

Romance of the three kingdom ( สามก๊ก)นิยายดังที่อิงจากประวัติศาตร์

สามก๊กเป็นนิยายดังที่ได้นำเรื่องราวในอดีตมาอ่างอิงจนเป็นที่รู้จักกันอย่างเเพร่หลาย

จัดได้ว่าเป็นมรดกทางปัญญาในด้านวรรณกรรมที่มีค่าของโลก มีการดัดเเปลงในรูปเเบบการเเสดงต่างเช่น งิ้ว

ภาพยนต์ ระครซีรีย์ต่าง เเละได้ถูกตีพิมพ์ออกมามากกว่า10ภาษาทั่วโลก สามก๊ก บทประพันธ์ของสามก๊กเเต่งขึ้นในช่วง

ยุคราชวง์หมิง เขียนโดยหลัว กวั้นจง สามก๊กเเปลเป็นภาษาไทยครั้งเเรกโดยเจ้าพระยาพระคลังหน

ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในปี พ.ศ.2408 ตีพิมพ์โดยโรงพิมพ์ของหมอบรัดเลย์

ต่อมาได้ถูกตีพิมพ์ครั้งที่สอง โดยโรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร ในปีพ.ศ2471

ในชื่อหนังสือสามก๊กฉบับราชบัณฑิตยสภา

สามก๊กในปัจจุบันได้ถูกตีพิมพ์ใหม่หลายคลังจากหลายสำนัดพิมพ์จนขึ้นชื่อว่าเป็นวรรณกรรมจีนที่อ่างอิงจากประวัติศาส

ตร์ที่เก่าเเก่ที่สุดในประเทศไทย

นิยายเรื่องสามก๊กเป็นนิยายที่มีเนื้อเรื่องเข้มข้นหลากหลายรูปเเบบ ทั้งการวางเเผนการรบที่ใช้เล่ห์กลต่างๆ

ตัวระครเเต่ละคาเเล็คเตอร์จะมีจุดเด็นที่เเตกต่างดันออกไป มีทั้งความเเค้น ความซื่อสัตย์ ความมีเมตรา เจ้าเลย์เพทุบาย

เนื้อเรื่องมีทั้งเรื่องราวที่ดีเเละร้ายปะปนกับไปตามเเต่ละช่วงเวลา ที่อ้างอิงมาจากประวัติศาสตร์จีนในช่วงปี พ.ศ.763-

พ.ศ823 จุดเริ่มต้นจากเรื่องราวของโจนโพกผ้าเหลืองออกปล้นสดม จนทำให้ เล่าปี่ กวนอู เตียวหุย

ได้รวมสาบานเป็นพี่น้องเเละร่วมกันปราบโจรโพกผ้าเหลือง

เเละยังมีเนื้อหาในช่วงที่ก๊กทั้งสามเเย่งชิงอำนาจกันในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ฮั่น ที่มีก๊กทั้งสามได้เเก่ วุ่ยก๊ก

จ๊กก๊กเเละง่อก๊ก ที่ต่างค่อยเเก่งเเย่งชิงอำนาจกัน จนถึงการสถาปนาราชวงศ์จินโดยสุมาเอี๋ยน

เเละสามก๊กได้รับการยกย่องให้เป็นตำราพิชัยสงครามด้านเศรษฐกิจเเละการบริหาร

เรื่องราวต่างๆของสามก๊กเกิดจากบันทึกเหตุการต่างยุคสามก๊กที่ถูกบันทึกเป็นลายลักษร

จากจดหมายเหตุสามก๊กซึ่งถูกเขียนในรูเเบบพงศาวดารโดยตันซิ่วหรือเฉินโซ่วที่เป็นบัณฑิตของราชวงศ์จิ้น

ที่เป็นอดีตข้าราชการอาลักษณ์ของจ๊กก๊ก หลังจากเเพ้สงครามตันซิ้วถูกไล่ต้อนมาถึงวุ่ยก๊ก

พระเจ้าจิ้นหวูตี้มีบัญชาให้ตันซิ่วเขียนขึ้นเพื่อให้เป็นบันทึกประวัติศาสตร์

ต่อมาในช่วงระหว่างของปีพ.ศ.1873จนถึงปี1943 หลัวกวั้นจงซึ่งมีตำเเหน่งเป็นกุนซือให้กับก๊กที่ต่อต้านราชวงศ์หยวน

ได้ให้ซันกั๋วจือนำบันทึกของตันซิ่วมาเขียนขึ้นใหม่ในรูปเบบของนิยายอิงประวัติศาสตร์

โดยใช้เรื่องราวที่อยู่ในบันทึกบางส่วนเเละดัดเเปลงเเต่งเติมเพิ่มเข้าไป

ซึ่งพบว่าเรื่องราวจากจดหมายเหตุสามก๊กมีอยู่ในนิยายประมาณ70เปอร์เซ็น

ส่วนอีก30เปอร์เซ็นที่เหลือเป็นเรื่องราวที่หลัวกวั้นจงเเต่งขึ้นมาทั้งหมด

ประวัติศาสตร์ทางภาคอีสาน

Published / by admin

สำหรับสถานที่โบราณที่ได้มีการขุดค้นพบนั้นเป็นสถานที่โบราณที่มีอายุมาหลายช่วงอายุคนและได้มีสิ่งของเก่าแก่มากมายที่ยังได้หลงเหลือให้พวกเรานั้นได้ดูกันสถานที่โบราณแห่งนี้ซึ่งได้ถูกค้นพบที่ภาคอีสานเป็นส่วนใหญ่และก็ได้มีการบูรณะขึ้นมาใหม่เพื่อให้เห็นถึงความเก่าแก่ของสถานที่โบราณแห่งนี้อีกทั้งยังมีภาษา กู่ ที่เขาเอาไว้เรียกกันในสมัยก่อนยุคโบราณอีกด้วย

กู่ เป็นคำที่นิยมใช้ในจังหวัดขอนแก่น สกลนคร และ มหาสารคาม

หมายถึงปราสาทหรือเจดีย์และยังรวมไปถึงในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือโบราณสถาน ซึ่งผู้คนก็ได้ให้ความเคารพและมากราบไหว้สืบต่อกันมาหลายช่วงอายุคนกู่บ้านเขวาหรือปรางค์กู่มหาตุตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองมหาสารคามเป็นโบราณสถานที่มีอายุราวๆพพุทธศตวรรษที่18ก่อสร้างขึ้นด้วยศิลาแลงเป็นรูปกระโจมสี่เหลี่ยมกรมศิลปากรได้

ทำการขุดแต่งและบูรณะด้วยวิธีแบบโบราณโดยการเอาก่อหินออกจากนั้นก็นำเอามาประกอบขึ้นมาใหม่เข้าที่เดิมผังหลักของอำเภอกู่บ้านเขวาประกอบไปด้วยปราสาทประทานก่อขึ้นด้วยศิลาแลงสูงจากพื้นดินถึงยอดวัดได้ประมาณ8เมตรมีประตูเข้าออกทางด้านของทิศตะวันออกส่วนอีกสามด้านเป็นประตูหรอกเรือนทาสหรือครั้งพักก็ได้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพิ่มมุมขนาดกว้างยาวด้านละ5เมตรมีมุกต่อยื่นอยู่ด้านหน้าส่วนบนทำเป็นชั้นเลียนแบบเรือนทาสซ้อนกันขึ้นไปสี่ชั้นจนถึงส่วนบัวยอดปราสาท

บริเวณด้านมุมทิศตะวันออกเฉียงใต้มีวิหารหรือบันนารายตั้งอยู่แต่ก็คงจะเหลือแค่เพียงส่วนฐานลากเท่านั้นอาคารทั้งสองหลักตั้งอยู่ในภายวงล้อมของกำแพงแก้ว ซึ่งได้ก่อสร้างขึ้นจากศิลาแลงเป็นรูปสี่เลี่ยมพื้นผ้ามีขนาดกว้าง25เมตรมีขนาดความยาว37เมตรโดยมีประตูซุ้มหรือโคปุระเป็นทางเข้าออกจากผังสถานปติยกรรมก็จะเห็นว่ากู่บ้านเขวามีองประกอบไม่ต่างกับกู่สันตรัตน์ที่อำเภอนาดูนซึ่งได้ตรงกับแผ่นผังโครงสร้างอาคารตามแบบบาณที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นศาสตร์สถานประจำสถานพยาบาลหรืออโรขยาสาร 

การจารึกของปราสาท ตาพรหม ของขอมไกล่าวเอาไว้ว่าในสมัยพระเจ้าวรมันที่7ได้มีการสร้างอโรขญาสารเอาไว้มากกว่า100แห่งทั่วราชอาณาจักรเพื่อเป็นสถานพยาบาลสำหรับประชาชนของพระองค์ ซึ่งทางภาคอีสานของประเทศไทยในปัจจุบันได้ค้นพบอยู่23แห่งได้กระจายอยู่ตามจังหวัดต่างๆ

โดยเฉพาะกลุ่มจังหวัดอีสานใต้อโรขญาสารในแต่ละแห่งนอกจากจะมีตัววิหารปราสาทหินยังได้มีปราสาทอื่นๆอีกหลายหลัง เช่น เรือนนอน บ้านพักเจ้าหน้าที่ เรือนปรุง และ เก็บยาแต่ทั้งหมดนั้นจะก่อสร้างขึ้นด้วยไม้จึงได้มีการผุกพังไม่หลงเหลือให้เห็นเป็นหลักฐานจะพบแต่เพียงข้าวของเครื่องใช้ในยุคนั้น